1.การอยู่ร่วมกันในหอพักนักศึกษา
ในฐานะที่เป็นครู การอยู่ร่วมกันในหอพักนักศึกษานั้น ครูจะต้องความเป็นกันเองกับนักศึกษา มีความยุติธรรมต่อนักศึกษาทุกคนสามารถให้นักศึกษาอยู่ในกฏเกณฑ์ของหอด้วยความจริงใจ และพร้อมช่วยเหลือนักศึกษาในทุกๆด้านพร้องทั้งเป็นตวอย่างที่ดีของนักศึกษา เช่น การทะเลาะเบาะแว้งของนักศึกษาในหอพักครูควรใช้เหตุผลในการตัดสินนักศึกษา
2.การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
สอนให้นักศึกษาทำงานด้วยความสามัคคี ไม่เอาเปรียบในการทำงานมีความอิสระในการทำงานแบ่งมอบหมายหน้าที่งานอย่างไม่เอาเปรียบเคารพสิทธิเสรีภาพของเพื่อนในกลุ่ม
3.หากทะเลาะกันจะนำหลักการมนุษยสัมพันธ์มาใช้คือ
1.อธิบายถึงความสัมพันธ์ของศาสนา
2.ปรับความเข้าใจระหว่าง และ กัน
3.อธิบายถึงการอยู่ร่วมกันที่ดีในสังคม
4.แนวคิดเชิงบวกเป็นอย่างไร
1.เปลี่ยนความคิดเชิงตำหนิ กลายมาเป็นยอมรับความจริงของตนเอง
2.หากจะต่อว่าลูกน้อง ให้หาข้อดีของเขาสัก 5 ข้อก่อนจะต่อว่าเขา 1 ข้อ
3.มองให้เห็นว่าสิงที่เรากำลังทำนั้นส่งดีกับใครบ้างอยู่เสมอๆ
4.สร้างวินัยให้กับตัวเองให้เป็นคนที่ทำงานให้เสร็จทันเวลากำหนด
วันอาทิตย์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2553
วันเสาร์ที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2553
ใบงานที่ 4
1.หลักการทำงานเป็นทีม
1.มีอุดมการที่แน่นอน และสมาชิกทุกคนยอมรับ
2.ยึดมั่นในความถูกต้อง
3.ใช้หลักการประนีประนอม
4.ถือหลักการให้อภัยระหว่างกันเสมอ
5.มี่สำนึกในเรื่องสัดส่วนการปฏิบัติงาน ไม่เอาเปรียบ
6.ถือว่าทุกคนีความเท่าเทียมกัน
7.เคารพในสิทธิและเสรีภาพส่นตัวของเพื่อนสมาชิก
8.ถือหลักการไม่มุ่งเอาเด่นคนเดียว
9.รู้จักมองปัญหาให้เป็นเรื่องธรรมดา
10.เปืดใจให้กว้างระหว่างกัน
11.รู้จักแบ่งงาน และ ประสานงาน
12.มีความเป็นอิสระในการทำงานพอสมควร
13.ถือการปฏิบัติกฏระเบียบ อย่างเคร่งครัดเสมอ
14.ยอมรับผิดเมื่อทำผิด
2.ปัจจัยการทำงานเป็นทีม
1.บรรยกาศของการทำงานเป็นการเอง คือ ทุกคนช่วยทำงานกันอย่างจริงจัง และจริงใจ
2.ความไว้วางใจกัน คือ เป็นหัวใจสำคัญในการทำงานเป็นทีม มีความซื่อสัตย์ต่อกัน
3.มีการมอบหมายอย่างชัดเจน คือ ยอมรับภารกิจหลักของมีมงาน
4.บทบาท คือ บทบาทในการช่วยรักษาความเป็นทีมงานให้มั่นคง
5.วิธีการทำงาน คือ การสือความ การตัดสินใจ ภาวะผู้นำ การกำหนดกติกา
6.การมีส่วนร่วมในการประเมินผลการทำงานเป็นทีม
7.การพัฒนาทีมงานให้เข้มแข็ง
3.ในฐานะที่เป็นครูจะนำวิธีการทำงานเป็นทีมมาประยุกต์ใช้ คือ
จะนำทั้งหลักและปัจจัยในการทำงานเป็นทีมมาใช้ควบคู่กับการสอนให้มีความลงตัวมากที่สุดทั้งผู้สอน และ ผู้เรียน
วันศุกร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2553
ใบงานที่ 3
1.ความหมาย องค์ และองค์การ
องค์ คือ ส่วนประกอบของหน่วยใหญ่ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กัน หรือขึ้นต่อกันและกัน
องค์การ คือ การเป็นศูนย์กลางของกิจกรรมที่ร่วมประกอบกันขึ้นเป็นหน่วย
2.องค์ประกอบของการสื่อสาร
องค์ประกอบของการสื่อสารประกอบด้วย
1. ผู้ส่งข่าวสาร (Sender)
2. ข้อมูลข่าวสาร (Message)
3. สื่อในชองการสื่อสาร (Media)
4. ผู้รับข่าวสาร (Receivers)
5. ความเข้าใจและการตอบสนอง
3.การสื่อสารมีช่องสื่อสาร คือ
1. ผู้ส่งข่าวสาร คือ อาจเป็นสัญญาณต่างๆ เช่น สัญญาณภาพข้อมูล
2. ผู้รับข่าวสาร คือ แล่งกำเนิดขางสารที่ได้ส่งมา
3. ช่องสัญญาณ คือ สือกลางที่ข่างสารเดินทางผ่าน
4. การเข้ารหัส คือ เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมาย
5. การถอดรหัส คือ การที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสาร
6. สัญญาณรบกวน คือ เป็นสิ่งที่อยู่ในธรรมชาติ มักจะทอนหรือกวนระบบอาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับสาร
4.วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
1. เพื่อแจ้งให้ทราบ หมายถึง การสื่อสารที่ผู้ส่งสารจะแจ้ง หรือบอกกล่าวข่าวสาร
2. เพื่อแจ้งให้ทารบ หมายถึง เป็นการสื่อสารที่มุ่งจะให้ผู้รับมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านองค์ความรู้
3. เพื่อสร้างความพอใจ หมายถึง การสื่อสารที่มุ่งให้เกิดทางจิตใจหรืออ่ารมณ์ความรูสึกแก่ผู้รับสาร
4. เพื่อเสนอหรือชักจูง มุ่งเน้นผู้รับสารยอมปฏิบัติตาม เป็นต้น
5.ในฐานะที่เป็นนักศึกษาจะนำวิธีการสื่อสารไปใช้
จะใช้การสื่อสารให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่นมากที่สุด โดยการนำการสื่อสารนั้นมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และครอบคลุมไปทุกๆด้าน
องค์ คือ ส่วนประกอบของหน่วยใหญ่ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กัน หรือขึ้นต่อกันและกัน
องค์การ คือ การเป็นศูนย์กลางของกิจกรรมที่ร่วมประกอบกันขึ้นเป็นหน่วย
2.องค์ประกอบของการสื่อสาร
องค์ประกอบของการสื่อสารประกอบด้วย
1. ผู้ส่งข่าวสาร (Sender)
2. ข้อมูลข่าวสาร (Message)
3. สื่อในชองการสื่อสาร (Media)
4. ผู้รับข่าวสาร (Receivers)
5. ความเข้าใจและการตอบสนอง
3.การสื่อสารมีช่องสื่อสาร คือ
1. ผู้ส่งข่าวสาร คือ อาจเป็นสัญญาณต่างๆ เช่น สัญญาณภาพข้อมูล
2. ผู้รับข่าวสาร คือ แล่งกำเนิดขางสารที่ได้ส่งมา
3. ช่องสัญญาณ คือ สือกลางที่ข่างสารเดินทางผ่าน
4. การเข้ารหัส คือ เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมาย
5. การถอดรหัส คือ การที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสาร
6. สัญญาณรบกวน คือ เป็นสิ่งที่อยู่ในธรรมชาติ มักจะทอนหรือกวนระบบอาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับสาร
4.วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
1. เพื่อแจ้งให้ทราบ หมายถึง การสื่อสารที่ผู้ส่งสารจะแจ้ง หรือบอกกล่าวข่าวสาร
2. เพื่อแจ้งให้ทารบ หมายถึง เป็นการสื่อสารที่มุ่งจะให้ผู้รับมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านองค์ความรู้
3. เพื่อสร้างความพอใจ หมายถึง การสื่อสารที่มุ่งให้เกิดทางจิตใจหรืออ่ารมณ์ความรูสึกแก่ผู้รับสาร
4. เพื่อเสนอหรือชักจูง มุ่งเน้นผู้รับสารยอมปฏิบัติตาม เป็นต้น
5.ในฐานะที่เป็นนักศึกษาจะนำวิธีการสื่อสารไปใช้
จะใช้การสื่อสารให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่นมากที่สุด โดยการนำการสื่อสารนั้นมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และครอบคลุมไปทุกๆด้าน
วันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2553
ใบงานที่ 2
1. ใความหมายผู้นำ ผู้บริหาร มีความแตกต่างกัน
ผู้นำ (Leader) คือ บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งหรือการเลือกตั้งหรือการยกย่องจากกลุ่มให้ทำหน้าที่ของตำแหน่งผู้นำ เช่น การชี้แนะ สั่งการ และช่วยเหลือให้กลุ่มสามารถปฏิบัติงานได้สำเร็จตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ได้มีการเขียนชื่อผู้นำแตกต่างกันออกไปตามลักษณะงานและองค์ที่อยู่ เช่น ผู้บริหาร ผู้จัดการ ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการ เป็นต้น
ผู้บริหาร หมายถึง ผู้ที่สามารถจัดการกระบวนการของการทำงานและการใช้ทรัพยากรเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การที่ตั้งไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการวางแผน การจัดองค์กร การสั่งการ และการควบคุม เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหาร ความสามารถของผู้บริหาร สามารถวัดได้จากประสิทธิผลและประสิทธิภาพของงานที่เกิดขึ้น
ผู้นำและผู้บริหารมีความเหมือนหรือแตกต่าง คือ
ความแตกต่าง
-ผู้บริหารเน้นความสนใจที่ปัจจัยในองค์กร ในคณที่ผู้นำเน้นความสนใจทีปัจจัยภายนอกองค์กร
-ผู้บริหารเน้นความแน่นอน เสถียรภาพมั่นคง ในขณะที่ผู้นำเน้นถึงความยืดยุ่นและการเปลี่ยนแปลง
-ผู้บริหารเน้นบำรุงรักษา ในขณะที่ผู้นำเน้นการพัฒนา
-ผู้บริหารมักจะเน้นระบบและโครงสร้าง ในขณะที่ผู้นำจะเน้นคน
-ผู้บริหารเน้นการบริหารจัดการ ในขณะที่ผู้นำจะเน้นการสร้างวัฒนธรรม
ความเหมือน
ผู้บริหารการศึกษาจะต้องมีคุณสมบัติของภาวะผู้นำนั้นเอง การเป็นผู้บริหารสมัยใหม่ต้องการความเป็นผู้นำในการบริหารงานของตน จึงจะกล่าวได้ว่าเป็นผู้บริหารสมัยใหม่ ทั้งนี้ เพราะผู้บรีหารสมัยใหม่ตระหนักดีว่ามนุษย์มีความแตกต่างกันตามลำดับขั้นของความต้องการจำเป็น เป็นต้น
2. สรุปบทบาทและภาวะหน้าที่ของนำ
ในการศึกษาบทบาทหน้าที่ของผู้นำนั้นในระยะต้นได้ทำการศึกษากิจกรรมต่างๆของการบริหารและเวลาที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม พบว่า งานบริหารงานเป็นงานที่ตื่นเต้นระทึกใจ มีหลากหลายไม่สัมพันธ์กัน เป็นงานเชิงรับมากกว่ารุกไมเป็นไปตามลำดับ และมีลักษณะทางการเมื่องชอบติดต่อสื่อสารกับบุคคลต่างๆโดยการพบปะสนทนา กระบวนการตัดสินใจมีลักษณะทางการเมื่องข้องข้าวสูง การวางแผนเป็นแบบไม่เป็นทางการและปรับเปลียนได้ตลอดเวลาเป็นต้น
3.วิธีการพัฒนาภาวะผู้นำของนักศึกษา
1. มีมุ่งมั่นต่อความสำเร็จ
2.มีกากำหนดลำดับความสำคัญที่เหมะสม
3.มีการตั้งและคาดหวังในมาตราฐานที่สูง
4.มีการเข้มงวดและยุติธรรม
5.การให้ความสำคัญและโอกาสและสิ่งที่เป็นไปได้
6.พัฒนาและรักษาระดับเร่งด่วน
7.การให้ความสนใจในรายละเอียด
8.การยอมรับต่อความผิดพลาด
9.การเข้าไปเกี่ยวข้องในที่สำคัญ
10.สนุกกับงาน
4. ภาวะผู้นำสมัยใหม่
1. ให้อำนาจแก่คน 2. จัดคนให้เป็นทีม
3. จัดให้ทีมงานทำงานด้วยตัวเองได้ 4. กระตุ้นทีมงานให้ทำงาน
5. ให้การจูงใจ 6. ให้ความเชื่อถือ
7. ปรับปรุงโครงสร้าง
5. ประสิทธิภาพของภาวะผู้นำที่ดี
1. มีความรู้ความสามารถ การใช้สติปัญญานั้น ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ให้สำเร็จลุล่วงไปได้ เมื่อมัปัญญาที่ดีก็เกิด
2. เป็นผู้มีสังคมดี คำว่าสังคมดัคือจะต้องมีลักษณะของการเป็นผู้นำที่มีอารมณ์มั่งคง
3.เป็นผูที่มีแรงกระตุ้นภานใน คือมีจิตสำนึกขึ้นในตัวของผู้นำเป็นแรงกระตุ้นที่เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์จะทำงานตรงนั้นให้เกิดความสำเร็จ
4.เป็นผู้นำที่มีทัศนะคติที่ดีและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ทำกิจการต่างๆประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย
ผู้นำ (Leader) คือ บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งหรือการเลือกตั้งหรือการยกย่องจากกลุ่มให้ทำหน้าที่ของตำแหน่งผู้นำ เช่น การชี้แนะ สั่งการ และช่วยเหลือให้กลุ่มสามารถปฏิบัติงานได้สำเร็จตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ได้มีการเขียนชื่อผู้นำแตกต่างกันออกไปตามลักษณะงานและองค์ที่อยู่ เช่น ผู้บริหาร ผู้จัดการ ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการ เป็นต้น
ผู้บริหาร หมายถึง ผู้ที่สามารถจัดการกระบวนการของการทำงานและการใช้ทรัพยากรเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การที่ตั้งไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการวางแผน การจัดองค์กร การสั่งการ และการควบคุม เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหาร ความสามารถของผู้บริหาร สามารถวัดได้จากประสิทธิผลและประสิทธิภาพของงานที่เกิดขึ้น
ผู้นำและผู้บริหารมีความเหมือนหรือแตกต่าง คือ
ความแตกต่าง
-ผู้บริหารเน้นความสนใจที่ปัจจัยในองค์กร ในคณที่ผู้นำเน้นความสนใจทีปัจจัยภายนอกองค์กร
-ผู้บริหารเน้นความแน่นอน เสถียรภาพมั่นคง ในขณะที่ผู้นำเน้นถึงความยืดยุ่นและการเปลี่ยนแปลง
-ผู้บริหารเน้นบำรุงรักษา ในขณะที่ผู้นำเน้นการพัฒนา
-ผู้บริหารมักจะเน้นระบบและโครงสร้าง ในขณะที่ผู้นำจะเน้นคน
-ผู้บริหารเน้นการบริหารจัดการ ในขณะที่ผู้นำจะเน้นการสร้างวัฒนธรรม
ความเหมือน
ผู้บริหารการศึกษาจะต้องมีคุณสมบัติของภาวะผู้นำนั้นเอง การเป็นผู้บริหารสมัยใหม่ต้องการความเป็นผู้นำในการบริหารงานของตน จึงจะกล่าวได้ว่าเป็นผู้บริหารสมัยใหม่ ทั้งนี้ เพราะผู้บรีหารสมัยใหม่ตระหนักดีว่ามนุษย์มีความแตกต่างกันตามลำดับขั้นของความต้องการจำเป็น เป็นต้น
2. สรุปบทบาทและภาวะหน้าที่ของนำ
ในการศึกษาบทบาทหน้าที่ของผู้นำนั้นในระยะต้นได้ทำการศึกษากิจกรรมต่างๆของการบริหารและเวลาที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม พบว่า งานบริหารงานเป็นงานที่ตื่นเต้นระทึกใจ มีหลากหลายไม่สัมพันธ์กัน เป็นงานเชิงรับมากกว่ารุกไมเป็นไปตามลำดับ และมีลักษณะทางการเมื่องชอบติดต่อสื่อสารกับบุคคลต่างๆโดยการพบปะสนทนา กระบวนการตัดสินใจมีลักษณะทางการเมื่องข้องข้าวสูง การวางแผนเป็นแบบไม่เป็นทางการและปรับเปลียนได้ตลอดเวลาเป็นต้น
3.วิธีการพัฒนาภาวะผู้นำของนักศึกษา
1. มีมุ่งมั่นต่อความสำเร็จ
2.มีกากำหนดลำดับความสำคัญที่เหมะสม
3.มีการตั้งและคาดหวังในมาตราฐานที่สูง
4.มีการเข้มงวดและยุติธรรม
5.การให้ความสำคัญและโอกาสและสิ่งที่เป็นไปได้
6.พัฒนาและรักษาระดับเร่งด่วน
7.การให้ความสนใจในรายละเอียด
8.การยอมรับต่อความผิดพลาด
9.การเข้าไปเกี่ยวข้องในที่สำคัญ
10.สนุกกับงาน
4. ภาวะผู้นำสมัยใหม่
1. ให้อำนาจแก่คน 2. จัดคนให้เป็นทีม
3. จัดให้ทีมงานทำงานด้วยตัวเองได้ 4. กระตุ้นทีมงานให้ทำงาน
5. ให้การจูงใจ 6. ให้ความเชื่อถือ
7. ปรับปรุงโครงสร้าง
5. ประสิทธิภาพของภาวะผู้นำที่ดี
1. มีความรู้ความสามารถ การใช้สติปัญญานั้น ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ให้สำเร็จลุล่วงไปได้ เมื่อมัปัญญาที่ดีก็เกิด
2. เป็นผู้มีสังคมดี คำว่าสังคมดัคือจะต้องมีลักษณะของการเป็นผู้นำที่มีอารมณ์มั่งคง
3.เป็นผูที่มีแรงกระตุ้นภานใน คือมีจิตสำนึกขึ้นในตัวของผู้นำเป็นแรงกระตุ้นที่เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์จะทำงานตรงนั้นให้เกิดความสำเร็จ
4.เป็นผู้นำที่มีทัศนะคติที่ดีและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ทำกิจการต่างๆประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย
วันพุธที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2553
ใบงานที่ 1
1.ทฤษฎีการบริหารการจัดการศึกษา
การบริหาร หมายถึง ศิลปะในการทำสิ่งต่างๆได้รับการกระทำจงเป็นผลสำเร็จ กล่าวคือ ผู้บริหารไม่ใช่เป็นผู้ปฏิบัติ แต่เป็นผู้ใช้ศิลปะทำให้ผู้ปฏิบัติทำงานจนสำเร็จตามจุดมุ่งหมายที่บริหารตัดสินใจเลือก (simon)
ส่วนคำว่า " การบริหารการศึษา " หมายถึงกิจกรรมต่างๆที่บุคคลหลายคนร่วมดำเนินการเพื่อพัฒนาสมาชิกของสังคมในทุกๆด้าน นับแต่ บุคลิกภาพ ความรูความสามารถ เจตคติ พฤติกรรม คุณธรรม เพื่อให้มีค่านิยมตรงกันกับความต้องการของสังคม โดยกระบวนการต่างๆ ที่อาศัยควบคุมสิ่งแวดล้อมให้มีผลต่อบุคคลและอาศัยเป้าหมายของสังคมที่ตนดำเนินชีวิตอยู่
2..ศาตร์และศิลป์
ศาสตร์ คือ ระบบวิชาความรู้
ศิลป์ คือ ฝีมือในการจัดการให้ความสนใจปัจจัยทางด้านสังคม อารมณ์และความรู้สึกมาเป็นองค์ประกอบในการตัดสินใจด้วย
3.วิวัฒนาการบริหาร
1. วิศวกรรมอุตสาหกรรม ได้แก่ การวางผังโรงงาน การศึกษางาน
2. วิทยาศาสตร์การจัดการ ได้แก่ สถิติศาสตร์ การจัดการ
3. วิทยาศาสตร์กายภาพ ได้แก่ การออกแบบงานที่เหมาะสมกับสรีระของคนงาน
4. วิทยาการข้อมูลข่าวสาร ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ในการเก็บข้อมูลและประมวลผล
4.ทฤษฎีมาสโลว์ ทฤษฎีภาวะผู้นำ ทฤษฎี x ทฤษฎี y
ทฤษฎีมาสโลว์ คือ
1.บุคคลเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความต้อง ความต้องการมีอิทธิพลเป็นจูงใจพฤติกรรม ความต้องการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองที่เป็นเหตุจูงใจ
2.ความต้องการของบุคคลเป็นลำดับชั้นเรียงตามความสำคัญจากความต้องการพื้นฐานจนถึงความสับซ้อน
3.เมื่อความต้องการลำดับต่ำได้รับการตอบสนองอย่างดีแล้ว บุคคลจะก้าวลำดับที่สูงขึ้นต่อไป
ทฤษฎีภาวะผู้นำ คือ
บุคคลที่มีความสามารถในการใช้อิทธิพลให้คนอื่นทำงานในระดับต่างๆที่ต้องการบรรลุเป็หมายที่ตั้งไว้
ทฤษฎี x คือ
คนประเภทขี้เกียจคร้าน ในการบริหารจึงควรใช้มาตรการบังคับมีกฎเกณฑ์คอยกำกับควบคุมการทำงานอย่างใกล้ชิด และมีการลงโทษเป็นหลัก
ทฤษฎี y คือ
คนประเภทขยัน ควรมีกำหนดหน้าที่การงานที่เหมาะสมและควรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการบริหารงาน
5.ทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์และแรงจูงใจ
1. ความต้องการด้านกายภาพ 2. ความปลอดภัย
3. ความต้องการด้านสังคม 4. ความต้องการได้รับการยกย่องนับถือ
5. ความต้องการความสำเร็จในชีวิต
การบริหาร หมายถึง ศิลปะในการทำสิ่งต่างๆได้รับการกระทำจงเป็นผลสำเร็จ กล่าวคือ ผู้บริหารไม่ใช่เป็นผู้ปฏิบัติ แต่เป็นผู้ใช้ศิลปะทำให้ผู้ปฏิบัติทำงานจนสำเร็จตามจุดมุ่งหมายที่บริหารตัดสินใจเลือก (simon)
ส่วนคำว่า " การบริหารการศึษา " หมายถึงกิจกรรมต่างๆที่บุคคลหลายคนร่วมดำเนินการเพื่อพัฒนาสมาชิกของสังคมในทุกๆด้าน นับแต่ บุคลิกภาพ ความรูความสามารถ เจตคติ พฤติกรรม คุณธรรม เพื่อให้มีค่านิยมตรงกันกับความต้องการของสังคม โดยกระบวนการต่างๆ ที่อาศัยควบคุมสิ่งแวดล้อมให้มีผลต่อบุคคลและอาศัยเป้าหมายของสังคมที่ตนดำเนินชีวิตอยู่
2..ศาตร์และศิลป์
ศาสตร์ คือ ระบบวิชาความรู้
ศิลป์ คือ ฝีมือในการจัดการให้ความสนใจปัจจัยทางด้านสังคม อารมณ์และความรู้สึกมาเป็นองค์ประกอบในการตัดสินใจด้วย
3.วิวัฒนาการบริหาร
1. วิศวกรรมอุตสาหกรรม ได้แก่ การวางผังโรงงาน การศึกษางาน
2. วิทยาศาสตร์การจัดการ ได้แก่ สถิติศาสตร์ การจัดการ
3. วิทยาศาสตร์กายภาพ ได้แก่ การออกแบบงานที่เหมาะสมกับสรีระของคนงาน
4. วิทยาการข้อมูลข่าวสาร ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ในการเก็บข้อมูลและประมวลผล
4.ทฤษฎีมาสโลว์ ทฤษฎีภาวะผู้นำ ทฤษฎี x ทฤษฎี y
ทฤษฎีมาสโลว์ คือ
1.บุคคลเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความต้อง ความต้องการมีอิทธิพลเป็นจูงใจพฤติกรรม ความต้องการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองที่เป็นเหตุจูงใจ
2.ความต้องการของบุคคลเป็นลำดับชั้นเรียงตามความสำคัญจากความต้องการพื้นฐานจนถึงความสับซ้อน
3.เมื่อความต้องการลำดับต่ำได้รับการตอบสนองอย่างดีแล้ว บุคคลจะก้าวลำดับที่สูงขึ้นต่อไป
ทฤษฎีภาวะผู้นำ คือ
บุคคลที่มีความสามารถในการใช้อิทธิพลให้คนอื่นทำงานในระดับต่างๆที่ต้องการบรรลุเป็หมายที่ตั้งไว้
ทฤษฎี x คือ
คนประเภทขี้เกียจคร้าน ในการบริหารจึงควรใช้มาตรการบังคับมีกฎเกณฑ์คอยกำกับควบคุมการทำงานอย่างใกล้ชิด และมีการลงโทษเป็นหลัก
ทฤษฎี y คือ
คนประเภทขยัน ควรมีกำหนดหน้าที่การงานที่เหมาะสมและควรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการบริหารงาน
5.ทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์และแรงจูงใจ
1. ความต้องการด้านกายภาพ 2. ความปลอดภัย
3. ความต้องการด้านสังคม 4. ความต้องการได้รับการยกย่องนับถือ
5. ความต้องการความสำเร็จในชีวิต
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)